วันพุธที่ 17 สิงหาคม พ.ศ. 2559

แบบทดสอบ

1 ) แก๊ส X ปริมาตร และความดัน ถ้าลดปริมาตรลงครึ่งหนึ่ง แก๊สจะมีความดันเท่ากับ แต่ถ้าลดปริมาตรลงเหลือ ของปริมาตร แก๊สจะมีความดันเท่ากับ กำหนดให้การเปลี่ยนแปลงดังกล่าวเกิดที่อุณหภูมิ และมวลของแก๊สคงที่ ความสัมพันธ์ระหว่าง และ ในข้อใดถูกต้อง






2 ) ในการทดลองการแพร่ของแก๊ส A และแก๊ส B โดยให้ทำปฏิกิริยากันในหลอดแก้ว ดังรูป 
ปล่อยแก๊สทั้งสองเข้าไปในหลอดแก้วพร้อมๆ กัน ปรากฏว่าได้สาร C ดังสมการ เมื่อวัดตำแหน่งของสาร C พบว่าเกิดอยู่ใกล้ทางเข้าแก๊ส B มากกว่า แก๊ส A ข้อใดผิด

1.แก๊ส A แพร่ได้เร็วกว่าแก๊ส B
2.แก๊ส B มีมวลโมเลกุลสูงกว่าแก๊ส A
3.แก๊ส A และแก๊ส B มีพลังงานจลน์เฉลี่ยเท่ากัน
4.โมเลกุลของแก๊ส A เคลื่อนที่เข้าหาโมเลกุลของแก๊ส B โดยไม่มีการเปลี่ยนทิศทาง


3 ) การเปรียบเทียบสมบัติของแก๊ส He และ ในข้อใดถูก

1.เมื่อมวลเท่ากัน จะมีปริมาตรเท่ากันที่อุณหภูมิและความดันเดียวกัน
2.ที่อุณหภูมิเดียวกัน เมื่อมวลและปริมาตรเท่ากัน แก็ส จะมีความดันมากที่สุด
3.ที่อุณหภูมิเดียวกัน และความดันเดียวกัน แก๊สทั้ง 3 จะมีอัตราการแพร่เท่ากัน
4.เมื่อนำแก๊สผสมทั้ง 3 มาลดอุณหภูมิ แก๊ส จะควบแน่นเป็นลำดับสุดท้าย





4 ) กำหนด สภาพการละลายได้ของสารเป็นกรัมในน้ำ 100 g ข้อใด ถูก

1.เมื่อนำสารละลายอิ่มตัวของ B และ C ที่ 25 อย่างละขวดไปไว้ในตู้เย็น จะได้ผลึกของ B
2.ที่อุณหภูมิ 25 สาร A และ B เป็นของแข็ง ส่วน C และ D เป็นแก๊ส
3.ที่อุณหภูมิ 100 สาร A 98g ละลายได้ในน้ำ 100g
4.แรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลของสาร D > B > A > C

5 ) จากแผนภาพ ข้อใดสรุปใดถูก

ก. พลังงานก่อกัมมันต์ที่มีผลต่ออัตราเร็วของปฏิกิริยา คือ
ข. การเติมตัวเร่งปฏิกิริยาลงไป จะทำให้ได้ค่า ลดลง
ค. การเติมตัวเร่งปฏิกิริยา X ลงไป จะได้ผลิตภัณฑ์สุดท้าย เป็นสารประกอบ CX
ง. หลังการเติมตัวเร่งปฏิกิริยา X ลงไป ปฏิกิริยาคายพลังงาน 90

1.ก และ ข
2.ข และ ค
3.ก และ ง
4.ข และ ง

6 ) แก๊สผสมระหว่าง A B และ C ทำปฏิกิริยากันในภาชนะปิด ได้สาร D เมื่อทำการวิเคราะห์มวลของ A B C และ D ที่เวลาต่างๆ ได้ผลดังนี้  
สมการแสดงปฏิกิริยาที่เกิดขึ้น และปริมาณของ A B C และ D เมื่อเวลาผ่านไป 5 นาทีควรเป็นข้อใด

อ่านเพิ่มเติม 




วันพุธที่ 10 สิงหาคม พ.ศ. 2559

ธาตุกึ่งโลหะ

ธาตุกึ่งโลหะ (อังกฤษmetalloids) เป็นธาตุที่มีองค์ประกอบทางเคมีซึ่งมีคุณสมบัติก้ำกึ่งระหว่างสมบัติของโลหะกับอโลหะ โดยไม่มีการกำหนดมาตรฐานหรือข้อตกลงที่แน่นอนของการเป็นธาตุกึ่งโลหะ
โดยปกติทั่วไปแล้วธาตุกึ่งโลหะ ประกอบด้วย 6 ธาตุ คือ โบรอนซิลิคอนเจอร์เมเนียมสารหนูพลวงและเทลลูเรียม แต่บางครั้งการจำแนกธาตุกึ่งโลหะได้รวม คาร์บอนอะลูมิเนียมซีลีเนียม,พอโลเนียมและแอสทาทีนไว้ด้วย ในตารางธาตุทั่วไปนั้นสามารถพบธาตุกึ่งโลหะได้ที่บริเวณเส้นทแยงมุมของ บล็อก-p โดยเริ่มจากโบรอนไปจนถึงแอสทาทีน ในบางตารางธาตุที่ประกอบด้วยเส้นแบ่งระหว่างโลหะกับอโลหะและธาตุกึ่งโลหะนั้นจะอยู่ติดกับเส้นแบ่งนี้ อ่านเพิ่มเติม 

ธาตุแทรนซิชัน

สมบัติของธาตุแทรนซิชัน 
               นักเคมีจัดธาตุแทรนซิชันไว้ในกลุ่มของธาตุที่เป็นโลหะ แต่ไม่ได้เป็นกลุ่มเดียวกับธาตุหมู่ IA  IIA  และ IIIA  เพราะเหตุใดจึงจัดธาตุแทรนซิชันไว้อีกกลุ่มหนึ่ง เพื่อตอบคำถามนี้ให้ศึกษาสมบัติของธาตุแทรนซิชันเปรียบเทียบกับสมบัติของธาตุหมู่ IA และ IIA ที่อยู่ในคาบเดียวกัน 
  พบว่าธาตุแทรนซิชันในคาบที่  4  มีสมบัติหลายประการคล้ายกับโลหะโพแทสเซียมและแคลเซียม เช่น พลังงานไอออไนเซชันลำดับที่ 1 และอิเล็กโทรเนกาติวิตีมีค่าต่ำ แต่จุดหลอมเหลว  จุดเดือด  และความหนาแน่นมีค่าสูง และสูงมากกว่าหมู่ IA และหมู่ IIA ธาตุเทรนซิชัน จึงควรเป็นโลหะ แต่ธาตุแทรนซิชันในคาบที่ 4 มีสมบัติบางประการที่แตกต่างจากโลหะโพแทสเซียมและแคลเซียมคือ มีขนาดอะตอมใกล้เคียงกันภายในกลุ่มของธาตุแทรนซิชันเอง แต่มีขนาดเล็กกว่าโลหะโพแทสเซียมและแคลเซียม นักเรียนคิดว่าเพร อ่านเพิ่มเติม